Posted on

NITHI FINAL SKETCHBOOK EP 4 | LIGHT AT THE END OF THE TUNNEL

หนังสือรวบรวมภาพสเก็ตช์ของนิธิ สถาปิตานนท์ ในช่วงมีนาคม-เมษายน 2564 ในระยะที่โควิดสายพันธุ์โอไมครอนระบาด การ work from home ทำให้ได้อยู่ท่ามกลางบรรยากาศที่แสนสงบและมีสมาธิ ผลงานใหม่ 20 ภาพนี้ เป็นที่ระลึกเตือนใจถึงช่วงเวลาที่แสนลำบากของผู้คน และก็เป็นช่วงเวลาที่ได้พบกับความสงบสุข รอความหวังที่จะได้กลับไปใช้ชีวิตปกติอีกครั้ง จัดพิมพ์โดย Li-Zenn Publishing

Posted on

[The Feeling of Things] ความรู้สึกต่อสรรพสิ่ง

The Feeling of Things ความรู้สึกต่อสรรพสิ่ง อดัม คารูโซ (Adam Caruso) เขียน อาชัญญ์ บุญญานันต์ แปล l ต้นข้าว ปาณินท์ บรรณาธิการ “ถึงเวลาแล้วหรือยังที่เราต้องกลับมามองว่า สถาปัตยกรรมที่เราสร้างนั้นมีบทบาทอย่างไรกับศตวรรษที่ 21” หนังสือรวบรวมผลงานเขียนระหว่างปี 1997-2008 ของ Adam Caruso ผู้ก่อตั้งบริษัทสถาปนิก Caruso St John ลอนดอน บอกเล่าถึงความสำคัญของการสร้างสรรค์สิ่งใหม่จากขนบเดิม ผ่านตัวอย่างงานออกแบบชิ้นสำคัญ เน้นย้ำเรื่องการนำ “ค่านิยมหลัก” ทางปัญญาที่ช่วยพัฒนาและแสดงจุดยืนของตัวบุคคลมาเป็นสาระในงานออกแบบและการปฏิบัติวิชาชีพอย่างจริงจัง เป็นประโยชน์ในการเปิดมุมมองและเป็นแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรมในอนาคต จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์ลายเส้น (Li-Zenn Publishing) www.li-zenn.com

Posted on

i-Guard The Electric Anti Rust System

‘เหล็กกล้า’ เป็นวัสดุที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในงานออกแบบสถาปัตยกรรม ด้วยความแข็งแรงและประสิทธิภาพทางการก่อสร้างสูง จึงสามารถตอบสนองความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบเกิดเป็นโครงการรูปลักษณ์สวยงามทันสมัย ทั้งนี้การใช้เหล็กกล้ามีปัญหาการสึกกร่อนจากสนิมที่ต้องหาทางรับมือ การป้องกันที่ได้รับความนิยมที่สุด คือ การฉีดสารเคลือบกันสนิม ซึ่งไม่คงทนถาวรและใช้งบประมาณสูง _ สนิมเกิดจากปฏิกิริยาทางไฟฟ้าเคมีเมื่อเหล็กต้องสัมผัสกับอากาศหรือความชื้น เหล็กจะสูญเสียประจุลบส่งผลให้เกิดการเสื่อมกร่อนและกลายเป็นสนิมในที่สุด นวัตกรรมของ I-Guard Thailand เครื่องป้องกันสนิม ด้วยประจุไฟฟ้า จะเข้าไปเพิ่ม ion ลบและเหนี่ยวนำโครงสร้างของชั้นสีเคลือบเหล็กทำให้บริเวณโดยรอบไม่สามารถรับประจุลบเพิ่มได้ เหล็กจึงไม่สูญเสียประจุไฟฟ้าและไม่เกิดการสึกกร่อน www.i-guardthailand.com _ ที่มา: advertorial หนังสือ Thailand Architecture in Steel 9

Posted on

Building with Bamboo: Strength and Sustainability

ไม้ไผ่เป็นพืชที่อยู่คู่กับมนุษย์มานานนับพันปี นำไปใช้งานได้อย่างหลากหลายและมีความสามารถในการผลิตออกซิเจนที่มากกว่าต้นไม้อื่นๆ ถึง 30% นับเป็นตัวเลือกในอุดมคติในการนำมาทดแทนแทนไม้ยืนต้นตามธรรมชาติ ปัจจุบันได้มีการพัฒนาคุณสมบัติและออกแบบการใช้งานอย่างเหมาะสมทั้งภายในและภายนอกอาคาร สามารถสร้างสรรค์โครงการที่โดดเด่นสวยงามอย่างมีเอกลักษณ์ _ ปราจีนบุรีมีสภาพดินเหมาะสมอย่างมากในการปลูกต้นไผ่ เป็นแหล่งผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงของ ‘THAILAND BAMBOO’ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2541 เป็นบริษัทแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ใช้เทคโนโลยี ‘Vacuum Treatment’ ระบบอัดน้ำยาสุญญากาศป้องกันแมลงที่มีความปลอดภัยต่อมนุษย์ อีกทั้งยังผ่านการทดสอบการทนทานไฟแบบ 1 ชั่วโมง พร้อมการบริการด้วยทีมงานที่รวมเอาภูมิปัญญาชาวบ้าน ระบบการก่อสร้างแบบมาตรฐาน และนักออกแบบไม้ไผ่มากประสบการณ์เข้าไว้ด้วยกัน จึงสามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และผลงานที่มีเอกลักษณ์และได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าจากทุกมุมโลก _ ผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่คุณภาพสูงของบริษัท ได้แก่ พื้นไม้ไผ่สำหรับภายนอก ไม้ไผ่ลำ ผนังไม้ไผ่ ฝ้าและหลังคาไม้ไผ่ Thailand Bamboo www.thailandbamboo.com _ ที่มา: advertorial หนังสือ Thailand Architecture in Steel 9

Posted on

[Embracing the Landscape] SENSE OF DISCOVERY

Projecting the vernacular spirit of PHUKET and quality of SEASIDE LANDSCAPE are the primary design intent. The approach started with a simulation of the native Phuket landscape, intended to accentuate the subtle play between jungle-like ambiance and tranquil places for the retreating moments. . Located at Mai Khao beach, the abandoned four-hectare old coconut orchard […]

Posted on

[Embracing the Landscape] CITY SCAPES URBAN

How far can we let our city grow denser? What comes with it is the effects of the ever-changing relationship between man and the urban landscape. The higher the living density climbs up, the more meaningful the personal intimacy becomes. That is why the approach of embracing the urban landscapes matters to the Landscape Architects […]

Posted on

[Embracing the Landscape] MING MONGKOL GREEN PARK

This landscape design attempts to unleash the overlooked potentials of the site context through an expression of the blending atmosphere where the natural beauty of neglected weeds becomes recognized and appreciated amongst commuting urbanites, local people, and travelers. . The park recharged an abandoned orchard land and turned it into a lively park for neighboring […]